สรุปงานวิจัย
มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารพื้นฐานทางคณิตศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารเพื่อใช้ในการทดลอง 6 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วันๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 30 นาทีรวมทั้งสิ้น 18 ครั้ง และแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานและการทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสา คัญที่สุด คือ การพัฒนาคนและชีวิตให้เกิดประสบการณ์
การเรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความถนัด ความสนใจความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ ค้นคว้าเรียนรู้ร่วมกับเพื่อน ด้วยการกระตุ้น
และสนับสนุนการเรียนรู้จากครู ซึ่งสอดคล้องกับ เพียเจท์ (Piaget) ที่เน้นเรื่องการเรียนรู้จะเกิดขึ้น
ได้นั้น เมื่อเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและผู้ใหญ่ในการเข้าสังคมนั้น ๆ อิทธิพลของทฤษฎีนี้มี
บทบาทในการจัดแนวประสบการณ์ในระดับปฐมวัยคือ ให้เด็กได้เรียนรู้โดยให้โอกาสเด็กในการ
เล่น สารวจ และทดลอง ให้เด็กมีโอกาสเลือกตัดสินใจ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น