Red Lollipop

วันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 16 วันศุกร์ ที่ 15 เมษายน 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

   ในสัปดาห์นี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมหาวิทยาลัยปิดช่วงเทศกาลทั้งอาทิตย์

การบันทึกครั้งที่ 15 วันศุกร์ ที่ 8 เมษายน 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.



   ในวันนี้งดการเรียนการสอน

การบันทึกครั้งที่ 14 วันศุกร์ ที่ 1 เมษายน 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ

     ออกไปนำเสนอการสอนเด็กตามที่อาจารย์ได้กำหนด  เพื่อนๆออกมาสรุปตัวอย่างการสอนมีดังนี้
1.นางสาวอิทิรา  จำปาเกตุ = เป็นการสอนคณิตศาสตร์ครูมืออาชีพในชีวิตประจำวันประเทศอังกฤษ
2.นางสาวอรนัท  สร้างสกุล = สรุปวิจัยคณิตศาสตร์ตามแนวมอนเตสเซอร์รี่

สอนตามวันที่อาจารย์ ได้กำหนดและมีขั้นต่างๆดังนี้คือ
1.นำเข้าสู่บทเรียน
2.เชื่อมโยง
3.บันทึกเพื่อเป็นตัวอย่าง
4.ถามเด็ก ว่าเด็กๆรู้จักอะไรอีก เพื่อนถามประสบการณ์เดิมของเด็ก
5.จากนั้นเข้าสู่กรสอน
วันอังคาร
กลุ่มที่1  รถ
ขั้นนำ ปริศนาคำทายที่เกี่ยวกับลักษณะของรถ
สอนเรื่องส่วนประกอบของรถ มีพวงมาลัย กระจก ประตู เบาะ ล้อรถ

กลุ่มสอนวันจันทร์ (หน่วยอวัยวะ)
กลุ่มสอนวันอังคาร (หน่วยเครื่องใช้ไฟฟ้า)

กลุ่มสอนวันจันทร์ (หน่วยสัตว์)







ทักษะ

-ได้รู้วิธีการสอนเพิ่มเติม
-รู้จักทำงานเป็นทีม

การนำไปประยุกต์ใช้

- การสอนวันนี้มีหลายเทคนิคในการสอนยังไม่มีกลุ่มไหนทีสอนถูกเพราะเป็นครั้งแรกในการสอนจำได้คำแนะนำจากอาจารย์มาเพื่อนนำมาแก้ใการสอนครั้งต่อไปเพื่อทำให้ดีขึ้น

บรรยากาศในห้องเรียน

-วันเป็นวันที่ง่วนนอนมากไม่ค่อยร่าเริงกันเท่ากับทุกวัน

ประเมินวิธีการสอน

-อาจารย์ได้ให้คำแนะนำกับทุกกลุ่มในสิ่งที่ถูกต้องทุกอย่าง

คุณธรรมจริยธรรม

-ตรงต่อเวลา
-มีความรับผิดชอบ


การบันทึกครั้งที่13 วันศุกร์ ที่25 มีนาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ

           ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดวิธีการสอนในหน่วยที่ตัวเองได้เลือกไว้ ให้นั่งเรียงตามวัน เริ่มจากวันจันทร์ถึงวันศุกร์ กลุ่มดิฉันเลือกหน่วยรถ มีหัวข้อย่อยดังนี้

ประเภท
องค์ประกอบ
วิธีการดูแลรักษา
ประโยนช์
โทษ/ข้อควรระวัง

นำเสนอ  บทความ  ตัวอย่างการสอนและวิจัย
นางสาววิจิตรา เสริมกลิ่น  บทความเรื่องเสริมการเรียนเลขให้ลูกวัยอนุบาล
นางสาวศิริพร พันโญศรันยา ตัวอย่างการสอนเรื่องการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรียนรู้การนับจำนวน
นางสาวจีราวรรณ งามขำ วิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมประกอบอาหารที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย




ทักษะ

การแก้ปัญหาด้วยตนเอง
การคิดและวางแผน

การนำไปประยุกต์ใช้
   นำเป็นแนวทางในการสอนในและได้ความรู้จากที่เพื่อนนำเสนอมาเพิ่ม


บรรยากาศในห้องเรียน

      ตั้งใจฟังอาจารย์สอน แต่บ้างครั้งก้อไปฟังมัวแต่คุย


ประเมินวิธีการสอน

    สอนเข้าใจแต่บางครั้งฟังแล้วไม่เข้าใจความหมายบ้างเพราะเราตีความไม่ได้เอง


คุณธรรมจริยธรรม
ตรงต่อเวลา
มีความรับผิดชอบ

การบันทึกครั้งที่ 12 วันศุกร์ ที่ 18 มีนาคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ

    อาจารย์ได้มอบหมายให้เลือกกลุ่มการสอนในหน่วยที่เราสอนใจ โดยแบ่งกลุ่มมี 5 กลุ่มเลือกหัวข้อแตกต่างกัน กลุ่มดิฉันได้เลือกทำเรื่อง"รถ" และมีหัวข้อย่อยดังนี้
-ประเภท
-องค์ประกอบ
-วิธีการดูแลรักษา
-ประโยช์น
-โทษ/ข้อควรระวัง

ทักษะ

-ได้คิดและวางแผนการทำงาน
-ได้ทำงานเป็นทีม


การนำไปประยุกต์ใช้

-สามารถนำไปสอนเด็กๆได้และมายแมพยังทำให้เราได้รู้วิธีการทำที่ถูกต้องนำไปใช้ในอนาคตได้อีกด้วยค่ะ

บรรยากาศในห้องเรียน

-ตั้งใจฟังและตอบคำถามได้บ้างไม่ได้บ้าง

ประเมินวิธีการสอน

- อธิบายการวิธีการสอนที่เราได้เลือกและการเขียนMind mapping ที่ถูกต้องและชัดเจน

คุณธรรมจริยธรรม

- ตรงต่อเวลา
- รู้จักหน้าที่ของตัวเอง
การบันทึกครั้งที่ 11 วันศุกร์ ที่ 11 มีนาคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ

   ในวันนี้อาจารย์ให้ออกไปเรียนรู้ด้วยตนเองเนื่องจากวันนี้อาจารย์และห้องเรียนไม่สะดวกในการจัดการเรียนการสอน
การบันทึกครั้งที่ 10 วันศุกร์ ที่ 4 มีนาคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ

    ฉันและเพื่อนๆได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม คือการตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยม แนวตั้ง 9 นิ้ว แนวนอน 7 นิ้วและครึงของแนวตั้ง6 นิ้ว จะให้ลังมากลุ่มล่ะ 1 แผ่นแล้วตัดออกมาได้ 5 แผ่น เมื่อตัดเสร็จแล้ว ก็ติดแท็บสีเล็กตรงกลางเป็นแนวนอนและแนวตั้ง ติดขอบให้เรียบร้อยและสุดท้ายติดแผ่นใส

ทักษะ

-เป็นการลงมือทำเองและทำงานกันเป็นกลุ่ม
-ได้มีการแบ่งงานกันทำ 
-ได้คิดและวางแผนการทำงาน

การนำไปประยุกต์ใช้

-   วันนี้เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับคณิตมีทั้งใช้ตัวเลข การวัด เลขาคณิต รูปทรงท สามารถนำไปประยุกต์สอนเด็กๆได้ และปรับให้เข้ากับยุคสมัยนำเอาของรอบตัวมาทำได้

บรรยากาศในห้องเรียน

- เพื่อนๆตั้งใจทำงานแต่บางครั้งก็เล่นกันบ้าง

คุณธรรมจริยธรรม

- มีการช่วยเหลือผู้อื่น
- รู้จักหน้าที่ของตัวเอง




การบันทึกครั้งที่ 9 วันพุธ ที่ 2 มีนาคม 2559ไปศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์

 จากการที่ไปศึกษาดูงานมา สื่อการสอนนั้นมีโทรทัศน์ มีรูปทรงตัวเลข ก้อนหิน การสอนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์นั้นมีการนำทรายมาผสมกับน้ำทำให้เด็กเกิดความสังเกต

กิจกรรมหรือการสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องส่งเสริมกับทักษะทางคณิตศาสตร์
-การจัดกิจกรรมมีการตัดแปะรูปส้ม ฉีกรูปเป็นรูปวงกลม ต้นไม้ ได้
ภายในห้องมีกลิ่นส้มทั่วห้อง เมื่ออยู่แล้วรู้สึกผ่อนคลาย สภาพแวดล้อมน่าอยู่มาก
-เด็กอีกห้องเรียนเกี่ยวกับตัวเลขและจำนวนเงิน ซึ่งเด็กสามารถนับและเขียนลงไปในกระดาษได้

วัดและประเมินผล
-ได้สังเกตเด็กที่ทำกิจกรรมเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
-ได้ดูการสอนแบบของจริง




การบันทึกครั้งที่ 8 วันศุกร์ ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.

ในสัปดาห์นี้มีการสอบกลางภาค
การบันทึกครั้งที่ 7 วันศุกร์ ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ

    อาจารย์ได้แจกไม้ลูกชิ้น จะมี ไม้สั้น ไม้กลาง ไม้ยาว ให้อย่างล่ะ 6 อันต่อคน อาจารย์ได้ให้จับคู่กับเพื่อนเป็นสองคน ใช้ดินน้ำมันด้วยกัน อาจารย์ให้ทำเป็นรูปสามเหลี่ยมแบบใดก็ได้โดยใช้ดินน้ำมันกับไม้

 

ต่อมาอาจารย์ได้ให้ทำเป็นรูปสีเหลี่ยมแบบใดก็ได้เป็นแบบสองมิติและสามมิติ




     จากนั้นอาจารย์ก็ได้อธิบายวิธีการสอนและขั้นตอนในการนำเสนอคือ
วิเคาระห์โจทย์ แนวคิด  ศึกษาวัสดุที่มีอยู่  ลงมือทำ  ผลงาน   นำเสนอ  โจทย์มีหลากหลาย มีอิสระในการเลือกทำ ให้มีโอกาสในการเรียนรู้และอะไรที่เป็นรูปทรงเวลามองต่างกันก็จะไม่เหมือนเดิม

ทักษะ

-เป็นการลงมือทำเอง
-นำคณิตศสาตร์ไปบรูณาการกับศิลปะ
-รู้จักแก้ไขปัญหา


การนำไปประยุกต์ใช้

- เป็นการให้เด็กทำเองมีอิสระในการคิด เลือกทำ ตามความคิดของตนเอง

บรรยากาศในห้องเรียน

-เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียน 

ประเมินวิธีการสอน

- ให้ได้ลองผิดลองถูกเพื่อหาทางให้ได้ผลงานชิ้นนั้นขึ้นมา

คุณธรรมจริยธรรม

-ไม่พูดมาก รู้จักช่วยเหลือคนอื่น



วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 6 วันศุกร์ ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

    ในวันนี้อาจารย์ได้แจกกระดาษคนละ 1 แผ่นแล้วตีเส้นเป็นสองช่องกับสามช่อง โดยในแต่ละช่องจะเว้น 1 เซน มี 10ช่องเล็ก แล้วให้เราวาดภาพลงไปในช่องสีเหลี่ยมสองช่อง ว่าได้รูปทรงกี่รูปและสามช่อง ดิฉันคิดว่าสามช่องวาดรูปได้เยอะกว่าสองช่องเพราะมันมีพื้นที่ใหญ่
เนื้อหาที่เรียน
  1. บทความเรื่องหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 
  2. สรุปวิดิโอการสอน เรื่องAbout kids ของอนุบาล3
  3. วิจัยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
จากนั้นอาจารย์ได้ให้ดู การจัดการเรียนรู้แบบProject Approdch  ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
   
ทักษะ

-ได้ลงมือปฎิบัติจริง  
-ได้คิดวิเคราะห์ 
-ได้รู้จักสังเกตทุกๆอย่างรอบตัวเรา
การนำไปประยุกต์ใช้

-การปรับกิจกรรมในการเรียนให้เด็กบันทึกไว้ทุกวัน ถ้าเด็กเขียนไม่ได้ก็ให้พ่อแม่เขียนให้
บรรยากาศในห้องเรียน

-ในวันนี้เรียนสนุกมีเสียงหัวเราะบ้างหลับบ้าง
ประเมินวิธีการสอน

-อาจารย์ได้ตั้งคำถามให้เราคิดคำตอบ แล้วคิดตามที่อาจารย์สอนในแต่ล่ะครั้ง


คุณธรรมจริยธรรม

-เข้าเรียนให้ตรงเวลา 

วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 5 วันศุกร์ ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559เวลาเรียน

 13.30-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
  อาจารย์ทำตรางขึ้นมาแล้วให้นักศึกษาออกไปติดชื่อว่าตื่นต้องไหน มี ก่อน 6 โมง หลัง 6โมงและ 7โมง
ต่อมาอาจารย์ได้ออกไปเขียนตัวเลข 3525  11 155 350  อาจารย์ให้ทายตัวเลขที่สำคัญของอาจารย์แล้วและก็ให้เพื่อนไออกไปเขียน 2 คนแล้วให้เพื่อนๆในห้องทายและก็ให้เพื่อนๆออกไปรำเสนอวิจัย บทความ และสือโทรทันศ์การสอน สุดท้ายอาจารย์สอนเนื้อหานิดหนึ่งแล้วออกไปนำเสนอของเล่นที่อาจารย์ให้ไปหามา
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่2 การวัด หาความยาวน้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
สาระที่3 เรขาคณิต  ตำแหน่งทิศทาง ระยะทางการเปลี่ยนแปลง
สาระที่4 พีชคณิต เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น รวบรวมข้อมูล นำเสนอ
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์





ออกมานำเสนอของเล่นที่อาจารย์ให้หามา



     ทักษะ
  ได้รู้เวลาก่อนและหลัง
   ได้รู้การพูดในการนำเสนอ
    ได้ทักษะการสอนแบบการประยุคต์

การนำไปประยุคต์ใช้
   ทำชีวิตประวันวันให้เป็นกิจกรรได้

บรรยากาศในห้องเรียน
    บางครั้งก็เงียบบางครั้งก็เสียงดัง

ประเมินวิธีการสอน
    อาจารย์จะหาวิธีที่ทำให้การเรียนการสอนไม่ซำ้ๆและให้เรารู้จักการคิดตาม

คุณธรรมจริยรรม
    การรับผิดชอบงานของตนเองและรู้หน้าที่ของน

วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559

สรุปงานวิจัย

        มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารพื้นฐานทางคณิตศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารเพื่อใช้ในการทดลอง 6 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วันๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 30 นาทีรวมทั้งสิ้น 18 ครั้ง และแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานและการทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสา คัญที่สุด คือ การพัฒนาคนและชีวิตให้เกิดประสบการณ์
การเรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความถนัด ความสนใจ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ ค้นคว้าเรียนรู้ร่วมกับเพื่อน ด้วยการกระตุ้น
และสนับสนุนการเรียนรู้จากครู ซึ่งสอดคล้องกับ เพียเจท์ (Piaget) ที่เน้นเรื่องการเรียนรู้จะเกิดขึ้น
ได้นั้น เมื่อเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและผู้ใหญ่ในการเข้าสังคมนั้น ๆ อิทธิพลของทฤษฎีนี้มี
บทบาทในการจัดแนวประสบการณ์ในระดับปฐมวัยคือ ให้เด็กได้เรียนรู้โดยให้โอกาสเด็กในการ
เล่น สารวจ และทดลอง ให้เด็กมีโอกาสเลือกตัดสินใจ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง



สรุปบทความ

    การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัดกระทำ กับวัตถุประสงค์

ต่าง ๆ เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ

ทางด้านสติปัญญา การจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กได้พัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุด และกระตุ้นให้เด็ก

ได้คิดและมีโอกาสจัดกระทำ หรือลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้สัมผัสแตะต้อง

 ได้เห็นสิ่งต่าง ๆ หรือเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยผ่านประสาทสัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งวิธีการดัง

กล่าวจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ รอบตัวจำนวนและตัวเลข เด็กปฐมวัยหากได้เรียนรู้จากการ

ปฏิบัติโดยการใช้สื่อของจริงจะส่งผลให้มีทักษะการรับรู้เชิงจำนวนเนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมอง

ของเด็กมีบริเวณที่เกี่ยวข้อง กับการรับรู้เชิงจำนวน ส่วนของสมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เกี่ยวข้องกับ

ทักษะการรับรู้เชิงจำนวน สองส่วนแรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลข และ

บริเวณที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบจำนวน และบริเวณสุดท้ายอยู่ที่สมองซีกซ้ายคือ ทำ

หน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทั้ง 3 ส่วนจะ

ทำงานร่วมกัน พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เริ่มตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนาเรื่อยไป

จนถึงวัยผู้ใหญ่







วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 2 
วันศุกร์ ที่ 15 มกราคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
      วันนี้อาจราย์แจกกระดาษให้อาจารย์จะทำให้นักศึกษารู้ว่าการสอนคณิตศาสตร์ไม่ได้สอนแต่ตัวเลขแต่สามารถสอนในสิ่งรอบตัวเด็กก็ได้ วันนี้ครูยกตัวอย่างกิจกรรมให้นักศึกษาดูการที่ครูแจกกระดาษให้10 แผ่นแต่เด็กมี 20 คน เลยทำให้มีปัญหาว่ากระดาษไมพอให้เราคิดว่าทำอยางใดบ้างกระดาษถึงจะพอกับจำนวนคนและให้คิดว่าจะนำไปประยุคท์ใช้ในการสอนเด็กปฐมวัยอยางไร เช่นการแจกกระดาษ แจกนมใส่ถังแล้วส่งต่อไปเรื่อยๆถ้านมเหลื่อกี่ถุงก็จะรู้ว่าเด็กขาดกี่คน และการแจกทาดอาหาร เป็นต้น
ท้ายคาบครูได้อธิบายการทำ  mind mapping  ให้มีเนื้อที่ในการเขียนมากขึ้น

ทักษะที่ได้รับ
  1. ได้รับการประยุคท์ใช้เรื่องคณิตกับชีวิตประจำวัน
  2. ได้คิดวิเคราะปัญหาที่เกิดขึ้น
       
การประยุกต์ใช้
      - ให้เด็กรู้จักว่าคณิตสามารถนำไปใช้กับชีวิตประจำวันของเด็กได้เช่น การแจกนม แจกกระดาษ เป็นต้น

วิธการสอน
         
       -สอบแบบคิดวิเคราะห์แยกแยในเรื่องต่างๆและมีส่วนรวม
      -สอนด้วยประเด็นปัญหา และการแก้ปัญหา



วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559

การสรุปตัวอย่างการสอน

สรุปตัวอย่างการสอน  
 ครูสอนการนับจำนวนที่ชั้นอนุบาล1/1

เทคนิคการสอน


ตอนแรกใช้การร้องเพลงและท่าประกอบตามเพลง 
อุปกรณ์ที่ใช่และวิธีการสอน

       ในการสอน แพงใส่ไข่ที่ใช่แล้ว ลูกปิงปอง ตะกร้า วาดภาพไก่
ติดไว้ที่ตะกร้าแล้วเขียนตัวเลขที่ตัวไก่ที่เราวาดไว้เริ่มจาก 1-ไปเรื่อยๆ
การสอน. ให้เด็กออกมาเปิดไก่ที่เราวาดติดไว้ว่าเป็นตัวเลขอ่ะไรให้เด็ก
ยิบลูกปิงปองใส่ลงในแพงไข่ให้ถูกตามที่เราเปิดตัวเลขที่แม่ไก่ให้เด็กๆออกมาที่ล่ะคน



วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 1

                                                                               บันทึกครั้งที่ 1

วัน ศุกร์ ที่  8 มกราคม  2559 เวลา  13:30 - 17:30
ความรู้ที่ได้รับ

       วันนี้เป็นชั่วโมงแรก อาจารย์แจกกระดาษให้กับนักศึกษา เขึยนแนะนำตัวเองจากลัษณะของตัวเองให้อาจารย์บอกว่าเราคือใครและถามวีธีการแบบกระดาษของเราว่าแบ่งแบบไหนอย่างไรจึงออกมาเป็น 3 ส่วน
ทักษะที่ได้
    -ได้ทักษะการคิดวิเคราะห์แยกแยะ
    -ได้ทักษะการฟังและการฟังและการพูด

การประยุกต์ใช้
    -การทำให้เด็กมีส่วนรวมกับครูได้และแลกเปลียนความคิดเห็นกันได้

วิธการสอน
      -สอบแบบคิดตามและมีส่วนรวม
      -สอนด้วยประเด็นปัญหา