Red Lollipop

วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559

สรุปงานวิจัย

        มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารพื้นฐานทางคณิตศาสตร์อยู่ในเกณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารเพื่อใช้ในการทดลอง 6 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วันๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 30 นาทีรวมทั้งสิ้น 18 ครั้ง และแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานและการทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสา คัญที่สุด คือ การพัฒนาคนและชีวิตให้เกิดประสบการณ์
การเรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความถนัด ความสนใจ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ ค้นคว้าเรียนรู้ร่วมกับเพื่อน ด้วยการกระตุ้น
และสนับสนุนการเรียนรู้จากครู ซึ่งสอดคล้องกับ เพียเจท์ (Piaget) ที่เน้นเรื่องการเรียนรู้จะเกิดขึ้น
ได้นั้น เมื่อเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและผู้ใหญ่ในการเข้าสังคมนั้น ๆ อิทธิพลของทฤษฎีนี้มี
บทบาทในการจัดแนวประสบการณ์ในระดับปฐมวัยคือ ให้เด็กได้เรียนรู้โดยให้โอกาสเด็กในการ
เล่น สารวจ และทดลอง ให้เด็กมีโอกาสเลือกตัดสินใจ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง



สรุปบทความ

    การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัดกระทำ กับวัตถุประสงค์

ต่าง ๆ เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ

ทางด้านสติปัญญา การจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กได้พัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุด และกระตุ้นให้เด็ก

ได้คิดและมีโอกาสจัดกระทำ หรือลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้สัมผัสแตะต้อง

 ได้เห็นสิ่งต่าง ๆ หรือเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยผ่านประสาทสัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งวิธีการดัง

กล่าวจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ รอบตัวจำนวนและตัวเลข เด็กปฐมวัยหากได้เรียนรู้จากการ

ปฏิบัติโดยการใช้สื่อของจริงจะส่งผลให้มีทักษะการรับรู้เชิงจำนวนเนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมอง

ของเด็กมีบริเวณที่เกี่ยวข้อง กับการรับรู้เชิงจำนวน ส่วนของสมองอย่างน้อย 3 บริเวณที่เกี่ยวข้องกับ

ทักษะการรับรู้เชิงจำนวน สองส่วนแรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลข และ

บริเวณที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบจำนวน และบริเวณสุดท้ายอยู่ที่สมองซีกซ้ายคือ ทำ

หน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ โดยสมองทั้ง 3 ส่วนจะ

ทำงานร่วมกัน พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เริ่มตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนาเรื่อยไป

จนถึงวัยผู้ใหญ่







วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 2 
วันศุกร์ ที่ 15 มกราคม 2559เวลาเรียน 13.30-17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
      วันนี้อาจราย์แจกกระดาษให้อาจารย์จะทำให้นักศึกษารู้ว่าการสอนคณิตศาสตร์ไม่ได้สอนแต่ตัวเลขแต่สามารถสอนในสิ่งรอบตัวเด็กก็ได้ วันนี้ครูยกตัวอย่างกิจกรรมให้นักศึกษาดูการที่ครูแจกกระดาษให้10 แผ่นแต่เด็กมี 20 คน เลยทำให้มีปัญหาว่ากระดาษไมพอให้เราคิดว่าทำอยางใดบ้างกระดาษถึงจะพอกับจำนวนคนและให้คิดว่าจะนำไปประยุคท์ใช้ในการสอนเด็กปฐมวัยอยางไร เช่นการแจกกระดาษ แจกนมใส่ถังแล้วส่งต่อไปเรื่อยๆถ้านมเหลื่อกี่ถุงก็จะรู้ว่าเด็กขาดกี่คน และการแจกทาดอาหาร เป็นต้น
ท้ายคาบครูได้อธิบายการทำ  mind mapping  ให้มีเนื้อที่ในการเขียนมากขึ้น

ทักษะที่ได้รับ
  1. ได้รับการประยุคท์ใช้เรื่องคณิตกับชีวิตประจำวัน
  2. ได้คิดวิเคราะปัญหาที่เกิดขึ้น
       
การประยุกต์ใช้
      - ให้เด็กรู้จักว่าคณิตสามารถนำไปใช้กับชีวิตประจำวันของเด็กได้เช่น การแจกนม แจกกระดาษ เป็นต้น

วิธการสอน
         
       -สอบแบบคิดวิเคราะห์แยกแยในเรื่องต่างๆและมีส่วนรวม
      -สอนด้วยประเด็นปัญหา และการแก้ปัญหา



วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2559

การสรุปตัวอย่างการสอน

สรุปตัวอย่างการสอน  
 ครูสอนการนับจำนวนที่ชั้นอนุบาล1/1

เทคนิคการสอน


ตอนแรกใช้การร้องเพลงและท่าประกอบตามเพลง 
อุปกรณ์ที่ใช่และวิธีการสอน

       ในการสอน แพงใส่ไข่ที่ใช่แล้ว ลูกปิงปอง ตะกร้า วาดภาพไก่
ติดไว้ที่ตะกร้าแล้วเขียนตัวเลขที่ตัวไก่ที่เราวาดไว้เริ่มจาก 1-ไปเรื่อยๆ
การสอน. ให้เด็กออกมาเปิดไก่ที่เราวาดติดไว้ว่าเป็นตัวเลขอ่ะไรให้เด็ก
ยิบลูกปิงปองใส่ลงในแพงไข่ให้ถูกตามที่เราเปิดตัวเลขที่แม่ไก่ให้เด็กๆออกมาที่ล่ะคน



วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 1

                                                                               บันทึกครั้งที่ 1

วัน ศุกร์ ที่  8 มกราคม  2559 เวลา  13:30 - 17:30
ความรู้ที่ได้รับ

       วันนี้เป็นชั่วโมงแรก อาจารย์แจกกระดาษให้กับนักศึกษา เขึยนแนะนำตัวเองจากลัษณะของตัวเองให้อาจารย์บอกว่าเราคือใครและถามวีธีการแบบกระดาษของเราว่าแบ่งแบบไหนอย่างไรจึงออกมาเป็น 3 ส่วน
ทักษะที่ได้
    -ได้ทักษะการคิดวิเคราะห์แยกแยะ
    -ได้ทักษะการฟังและการฟังและการพูด

การประยุกต์ใช้
    -การทำให้เด็กมีส่วนรวมกับครูได้และแลกเปลียนความคิดเห็นกันได้

วิธการสอน
      -สอบแบบคิดตามและมีส่วนรวม
      -สอนด้วยประเด็นปัญหา